ประวัติคนหางาน
ตำแหน่งงานที่ต้องการ :
ครูสอนวิชานาฏศิลป์ไทย  
ประเภทของงาน :
งานประจำ  
เงินเดือนที่ต้องการ :
15,000  
สถานที่ต้องการทำงาน
ภาค :
xxxx  
จังหวัด :
xxxx  
เขต/อำเภอ :
xxxx  
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ :
xxxx 
นามสกุล :
xxxx 
เพศ :
หญิง  
วัน/เดือน/ปีเกิด :
20-กรกฎาคม-2532  
อายุ :
34  
สัญชาติ :
xxxx 
เชื้อชาติ :
xxxx 
ศาสนา :
xxxx  
ส่วนสูง :
xxxx 
น้ำหนัก :
xxxx 
ตำหนิ :
xxxx 
กรุ๊ปเลือด :
xxxx 
สถานที่เกิด :
xxxx 
โรคประจำตัว :
xxxx  
สถานะความเป็นอยู่ :
xxxx 
สถานะครอบครัว :
xxxx 
สถานะทางทหาร :
xxxx 
ที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้สะดวก
ที่อยู่ :
xxxx  
แขวง/ตำบล :
xxxx  
เขต/อำเภอ :
xxxx  
จังหวัด :
xxxx  
รหัสไปรษณีย์ :
xxxx 
เบอร์โทรศัพท์บ้าน :
xxxx  
เบอร์มือถือ :
xxxx  
E-mail :
xxxx
ประวัติการศึกษา
ระดับการศึกษาสูงสุด :
ปริญญาตรี  
ชื่อสถาบันสูงสุด :
xxxx 
สาขา :
ครุศาสตร์-ศึกษาศาสตร์ 
วิชาเอก :
นาฏศิลป์ไทย 
เกรดเฉลี่ย :
2.92 
ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
มี  
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มี  
ระดับ ชื่อสถาบัน จังหวัด ประเทศ ปีการศึกษา วุฒิที่ได้รับ
ความสามารถทางด้านภาษา
ภาษา
พูด
เข้าใจ
อ่าน
เขียน
ไทย
ดีมาก 
ดีมาก 
ดีมาก 
ดีมาก  
อังกฤษ
พอใช้  
พอใช้  
พอใช้  
พอใช้  
ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT )
โปรแกรม
ความสามารถ ( ใช้งานได้ )
1. โปรแกรมสำนักงาน
(Word , Excel , Powerpoint , Access)
ดี  
2. โปรแกรม Multimedia
(Cai , Flash , Autoware , etc. )
ดี  
3. โปรแกรมตัดต่อ VDO , sound , Effect
( Premier , Ulead , Sound Forge , etc. )
ดี  
4. โปรแกรมสร้างกราฟิก ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
( photoshop , Illustrator , etc. )
ดี  
5. โปรแกรมสร้างเว็บไซต์
( Dreamweawer , Wordpress , CMS ต่างๆ หรืออื่นๆ )
ดี  
6. การพัฒนาซอฟต์แวร์
6.1 Window based Application
ดี  
6.2 Web based Application
ดี  
6.3 Mobile Application
 
7. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ชำนาญ
 
8. Database ที่ชำนาญ
 
9. ระบบเครือข่าย ( ติดตั้ง-ซ่อมบำรุง )
9.1 Window
พอใช้  
9.2 Linux / Unix
พอใช้  
10. การซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์
(เครื่องคอมพิวเตอร์ , ปรินท์เตอร์ , อื่นๆ )
พอใช้  
ความสามารถทางด้านดนตรี
เครื่องดนตรี
ความสามารถ ( ใช้งานได้ )
1. เครื่องดนตรีไทย
(ระนาด , ขลุ่ย , ซอ , พิณ ฯลฯ )
พอใช้  
2. เครื่องดนตรีสากล
( เปียโน , คีย์บอร์ด , กีตาร์ ฯลฯ )
ไม่ได้เลย  
ความสามารถทางด้านอื่นๆ
ความสามารถ :
งานประดิษฐ์,งานฝีมือ,คอมพิวเตอร์  
เกียรติประวัติ - รางวัลต่างๆ
รางวัล
จากสถาบัน
ปี พ.ศ.ที่ได้รับ
การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ - รำวงมาตรฐาน  
โรงเรียนปิยวัฒนศาสตร์  
2556  
การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ - รำวงมาตรฐาน  
โรงเรียนปิยวัฒนศาสตร์  
2557  
การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ - นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์,รำวงมาตรฐาน  
โรงเรียนปิยวัฒนศาสตร์  
2558  
การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ - นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์,รำวงมาตรฐาน  
โรงเรียนวัดอัยยิการาม  
2558  
ประวัติการทำงาน
ประสบการณ์การทำงาน :
xxxx ปี 
1 )
ชื่อสถานประกอบการ 1 :
xxxx  
ระยะเวลาเริ่มทำวันแรก :
14-สิงหาคม-2556  
-จนถึงวันสุดท้าย :
30-ตุลาคม-2559  
ตำแหน่ง 1 :
ครูสอนนาฏศิลป์ไทย  
เงินเดือนสุดท้าย 1 :
15800  
สาเหตุที่ลาออก 1 :
ย้ายที่อยู่อาศัย  
 
2 )
ชื่อสถานประกอบการ 2 :
xxxx  
ระยะเวลาเริ่มทำวันแรก :
10-มิถุนายน-2559  
-จนถึงวันสุดท้าย :
30-กันยายน-2564  
ตำแหน่ง 2 :
ครูอนุบาล  
เงินเดือนสุดท้าย 2 :
15800  
สาเหตุที่ลาออก 2 :
 
 
การฝึกอบรม
หัวข้อ
สถาบัน
ระยะเวลา
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
xxxx 
บุคคลผู้รับรอง ( อ้างอิงได้ )
ลำดับ
ชื่อ
นามสกุล
ความสัมพันธ์
สถานที่ติดต่อ
เบอร์โทรศัพท์
1
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
2
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
3
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
xxxx  
แสดงความรู้ ความเข้าใจ และทัศนะของท่าน
1)ทัศนคติต่อการศึกษาไทย :
ถ้าเรามองการเรียนการสอนจากอดีตก่อนที่จะมีระบบโรงเรียน สมัยก่อนนั้นพ่อแม่จะเป็น "ครู" ผู้สั่งสอนลูก โดยมุ่งสอนให้นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง พ่อแม่มีอาชีพอย่างไรก็มักสั่งสอนอาชีพนั้นแก่ลูกของตนเอง เช่น พ่อแม่มีอาชีพเกษตรกรก็สอนอาชีพนั้นแก่ลูกๆ เพื่อที่ลูกๆจะได้มีทักษะอาชีพติดตัวไปทำมาหากินในอนาคต ในการสอนอาชีพก็คอยแนะนำทักษะต่างๆให้กับลูกโดยใกล้ชิด ส่วนลูกก็ได้ลงมือปฏิบัติงานจริง ภายใต้สภาพแวดล้อมจริงที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และเมื่อมีปัญหาก็จะให้คำแนะนำกับลูกเป็นรายบุคคล หรือนำลูกไปฝากไว้ที่วัดหรือสำนักต่างๆ ซึ่งนอกจากจะได้เรียนสรรพวิชาต่างๆแล้วก็ยังมีการปลูกฝังคุณธรรมไปในตัวด้วย 
2)ทัศนคติของท่านต่อสภาพสังคมไทยในปัจจุบัน :
กระบวนการเรียนรู้/การกล่อมเกลาทางสังคม ซึ่งรวมทั้งการเลี้ยงดูเด็ก ทัศนคติของคน ชุมชน การศึกษา สื่อมวลชนและการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมของทั้งชุมชนและประเทศไทย เป็นตัวปัญหา เพราะมักเน้นแนว คิดแบบจารีตนิยม อุปถัมภ์นิยมและอำนาจนิยม มีทัศนคติแบบยอมจำนน เชื่อในเรื่องบุญบารมี วาสนาว่าถูกกำหนดมาแล้วอย่างตายตัว หรือเปลี่ยนแปลงได้ยาก ทำให้คนไทยส่วนใหญ่มักจะยอมรับสังคมแบบอำนาจนิยมและอุปถัมภ์นิยมที่มีการจัด ฐานะทางชนชั้น/กลุ่มทางสังคมที่แตกต่างกันมากและเป็นตัวปัญหา ประชาชนไม่ได้เรียนรู้ว่าแท้จริงแล้วพวกเขาเป็นพลเมืองผู้เสียภาษี และเป็นเจ้าของทรัพย์สมบัติสาธารณะของประเทศร่วมกัน และพลเมืองมีสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคในด้านต่าง ๆ ไม่ควรมีใครมีอภิสิทธิ์เหนือใคร การศึกษาสมัยใหม่จากโลกตะวันตกซึ่งรวมความคิดเสรีนิยม/เสรี ประชาธิปไตยด้วยเข้ามาในประเทศไทยนานพอสมควร แต่ชนชั้นนำนำเข้ามาเพียงรูปแบบอย่างฉาบฉวย ไม่ได้ศึกษาด้านเนื้อหาแบบวิพากษ์วัฒนธรรมเก่าที่ล้าหลังอย่างจริงจัง แนวคิดและความรู้สมัยใหม่แบบเสรีนิยมยังไม่สามารถเปลี่ยนแปลง หล่อหลอมทัศนคติ ค่านิยม พฤติกรรมให้คนไทยเป็นเสรีประชาธิปไตยได้มากนัก เพราะส่วนหนึ่งเราจัดการศึกษาและวัดผลแบบท่องจำ มากกว่าจะฝึกหรือส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ประยุกต์ใช้เป็นต้องเปลี่ยนวิธีคิด วิธีเรียนรู้ใหม่ ที่ก้าวหน้าขึ้นคน ที่มีโอกาสเรียนในระดับที่สูงขึ้น เช่นจบมัธยม อาชีวศึกษาหรือมหาวิทยาลัย น่าจะมีโอกาสเรียนรู้และมีแนวคิดทัศนคติไปทางเสรีประชาธิปไตยหรือสังคม ธรรมาธิปไตยได้มากกว่าคนที่ไม่มีโอกาสได้เรียน แต่ไม่ได้เป็นไปเช่นนั้นเสมอไป เพราะการจัดการศึกษาของประเทศไทย เป็นแบบใช้อำนาจสิทธิขาดของครูอาจารย์ ซึ่งยึดตามตำราและการออกข้อสอบแบบท่องจำ เน้น วิชาความรู้พื้นฐาน เช่นภาษา สังคมศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และความรู้ทางวิชาชีพ ไม่ได้สอนแบบให้สิทธิเสรีภาพ ช่วยให้คนรู้จักตนเอง เป็นตัวของตัวเอง ภูมิใจในตนเอง คิดวิเคราะห์สังเคราะห์เป็น ตระหนักว่าคนเรามีหรือควรมีสิทธิเสมอภาค เสรีภาพเสมอกัน  
3)กัลยาณมิตรและโยนิโสมนสิการกับการศึกษา :
ในฐานะที่เป็นกระบวนการสอน โยนิโสมนสิการเป็นกระบวนการคิด เป็นวิธีการที่ให้บุคคลมีหลักการและวิธีการคิดที่ก่อให้เกิดประโยชน์ เพื่อให้ง่ายต่อการนำไปใช้ในกระบวนการสอน ขอใช้ในความหมายง่าย ๆ ว่า โยนิโสมนสิการ คือ กระบวนการคิดหาเหตุ หรือกระบวนการพิจารณาหาเหตุ เหตุ คือ อะไร เหตุ คือ เงื่อนไขจำเป็นที่ทำให้เกิดสิ่งหนึ่งตามมา สิ่งที่ตามมาเรียกว่า ผล เหตุและผลมีความสัมพันธ์โยงถึงกัน ดังนั้น ถ้ารู้เหตุ ก็สามารถรู้ผลได้ หรือรู้ผลก็โยงไปหาเหตุได้ แต่ในการค้นหาเหตุได้ ต้องมีพื้นฐานความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ถ้ามีความรู้มาก ก็มีโอกาสตรึกตรองถึงความสัมพันธ์ของเหตุและผลได้ลึกและละเอียดมากตามไปด้วย ดังนั้น ก่อนการพิจารณาเหตุและผล จึงต้องมีความรู้ หลักการ กฎเกณฑ์ ที่ตรงกับความเป็นจริงเป็นเบื้องแรก ความรู้ที่เป็นพื้นฐานความรู้นั้นมาจากไหน คำตอบ คือ ความรู้เหล่านั้นมาจากการรับรู้จากภายนอก หรือ “ปรโตโฆษะ” หรือ สิ่งเร้า หรือ ประสบการณ์ หรือ จากการเรียนรู้ ซึ่งเริ่มต้นจากมีผู้แนะนำ ชี้ทาง ในสิ่งที่ถูก หรือ กัลยาณมิตร เป็นผู้ที่หวังดีที่จะให้เกิดการพัฒนาไปในทางที่ดี ด้วยเหตุที่คุณลักษณะของกัลยาณมิตรประกอบด้วย ปิโย มีความน่ารัก ความน่ารักเป็นฐานที่ทำให้เกิดความสบายใจและสร้างความสนิทใจ ชวนให้อยากเข้าไปใกล้ชิด การทำตนให้เป็นที่น่ารักนั้นมีหลักธรรมอื่นมาเสริมอีกหลายข้อ เช่น สังคหวัตถุ ธรรมทำให้งาม พรหมวิหาร ครุ มีความน่าเคารพ มีความไว้วางใจ จากฐานความประพฤติที่สมควรตามสถานภาพ เป็นเหตุก่อให้เกิดความไว้วางใจ เป็นที่พึ่งได้และมีความปลอดภัย ภาวนีโย เป็นผู้ปฏิบัติได้จริง ทั้งในด้านความคิด ความรู้และการปฏิบัติ พัฒนาและปรับปรุงตนอย่างสม่ำเสมอ เมื่อผู้ใดได้อยู่ใกล้ชิดก็ได้ประโยชน์ ระลึกถึงด้วยความซาบซึ้งและภูมิใจ วัตตา จ รู้จักพูดให้เกิดประโยชน์นำไปสู่ผลที่ต้องการ ให้คำปรึกษาที่ดี แนะนำ ตักเตือน ชี้แจง ชี้ประเด็นให้เกิดความรู้ ความเข้าใจได้ง่าย วจนกฺขโม อดทนต่อถ้อยคำ หรือพร้อมรับฟังถ้อยคำด้วยความอดทน ไม่หงุดหงิดฉุนเฉียว ฟังได้ไม่เบื่อ ทั้งในข้อปรึกษา วิพากษ์ วิจารณ์ ข้อเสนอ หรืออื่น ๆ คัมภีรญฺจ กถํ กตฺตา รู้จริง แถลงเรื่องลึกล้ำได้ ถ่ายทอดเรื่องที่ยุ่งยากซับซ้อนให้เข้าใจได้ง่าย และเรียนรู้เรื่องที่ลึกซึ้งได้ โน จฏฺฐาเน นิโยชเย ไม่แนะนำชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย แนะนำแต่ทางที่ดีมีประโยชน์ กัลยาณมิตรเป็นปัจจัยสำคัญในการก่อให้ผู้เรียนมีความรู้ วิธีคิด และการปฏิบัติที่ถูก เป็นพื้นฐานของการเกิดสัมมาทิฏฐิ คือ หลักการ กฎเกณฑ์ ทฤษฎี กับสัมมาสังกับปะ คือ ความคิดรวบยอดที่ถูก หรือมโนทัศน์ มโนมติ (ปัจจุบันอาจใช้คำว่าความคิดใหญ่ “big ideas”) แล้วแต่จะเรียกตามข้อกำหนดของสำนักการศึกษา เนื่องจากความรู้เกี่ยวกับหลักการ กฎเกณฑ์ และความคิดรวบยอดเหล่านี้จะนำไปใช้ในการตรึกตรองในกระบวนการคิดพิจารณาความสัมพันธ์ของเหตุและผลในโยนิโสมนสิการ เพื่อให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจ จะขอเสนอในรูปแผนภาพ แล้วอธิบายความสัมพันธ์ของกระบวนการคิดแบบโยนิโสมนสิการตามลำดับขั้นตอนของแผนภาพนั้น